Assignment3
ให้นักศึกษาเขียนระบบการสอนวิชาใดก็ได้ มา 1 วิชาใ นสาขาการศึกษาปฐมวัย
มา 1 ระบบ อธิบายละเอียดโดยใช้หลัก IPO มาพอสังเขป
2.เนื้อหาสาระที่เรียน
3.กิจกรรมการเรียนการสอน (รวมวิธีสอนและสื่อการเรียนการสอน)
สำหรับในเด็กวัยนี้จะเป็นการเรียนรู้แบบปฎิบัติจริง
เด็กจะเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัว และเด็กก็จะเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 และการทำกิจกรรมนั้นเด็กต้องทำแล้วมีความสุข
สำหรับเด็กที่เรียนรู้ทางดนตรีนั้นจะมีการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน
1. ด้านร่างกาย การเคลื่อนไหวร่างกายผ่านบทเพลง
2. ด้านอารมณ์ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกผ่านการเคลื่อนไหวตามบทเพลง
3. ด้านสังคม เด็กได้ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน
4. ด้านสติปัญญา แสดงความคิดเห็นใช้จิตนาการผ่านบทเพลง
สิ่งอำนวยความสะดวก
http://www.learners.in.th/blogs/posts/95089
ตอบ ระบบการสอนวิชา ‘’ดนตรีและเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย ’’
ตามหลัก
IPO สามารถอธิบายได้ดังนี้
( Input )
คือ ส่วนประกอบต่างๆ
ที่นำเข้าสู่ระบบได้แก่ ผู้สอน ผู้สอน ผู้เรียน หลักสูตร สิ่งอำนวยความสะดวก
ผู้สอน หรือครู
เป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้การเรียนการสอนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์
ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณลักษณะหลายประการได้แก่คุณลักษณะด้านพุทธิพิสัย เช่น ความรู้ ความสามารถ
ความรู้จำแนกเป็นความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอน ความรู้ในเทคนิคการสอนต่าง ความตั้งใจในการสอน ฯลฯ
ผู้เรียน
ผู้เรียน
ผู้สอน หรือครู
เป็นองค์ประกอบสำคัญที่จะทำให้การเรียนการสอนบรรลุผลตามวัตถุประสงค์
ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณลักษณะหลายประการได้แก่คุณลักษณะด้านพุทธิพิสัย เช่น ความรู้ ความสามารถ
ความรู้จำแนกเป็นความรู้ในเนื้อหาสาระที่สอน ความรู้ในเทคนิคการสอนต่าง ความตั้งใจในการสอน ฯลฯ
ผู้เรียน
ผู้เรียน
เป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดในระบบการเรียนการสอนซึ่งจะบรรลุผลสำเร็จได้ย่อมขึ้นอยู่กับคุณลักษณะของผู้เรียนหลายประการ
เช่น ความถนัด ความรู้พื้นฐานเดิม ความพร้อมความสนใจและความพากเพียรในการเรียนทักษะในการเรียนรู้
ฯลฯ
หลักสูตร
หลักสูตรเป็นองค์ประกอบหลักทีจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
หลักสูตรประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการคือ
1.วัตถุประสงค์การเรียนรู้
หลักสูตรประกอบด้วยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการคือ
1.วัตถุประสงค์การเรียนรู้
1.1 เพื่อจัดประสบการณ์ทางดนตรีที่หลากหลาย
ซึ่งจะนำความสนุกสนาน และ
ความพอใจให้กับเด็ก
1.2 เพื่อตระหนักและเตรียมประสบการณ์ทางดนตรี
ที่เหมาะสมให้กับเด็ก โดย
เน้นเสริมสร้างประสบการณ์ ร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา
1.3 ให้โอกาสเด็กให้ฟังเพลง
สร้างเพลง ร้องเพลง เคลื่อนไหวตามจังหวะ และ
ทดลองเกี่ยวกับเสียง
1.4 ให้เด็กได้มีโอกาสได้รับประสบการณ์ทางดนตรี
โดยเน้นศิลปะการแสดงออก
(action arts) แต่ไม่ใช่ศิลปะการแสดง (performing arts) โดยเน้นความสนุกสนานจากการได้รับประสบการณ์ทางดนตรีมากกว่าคาดหวังผล
1.5 เพื่อแนะนำความคิดรวบยอดทางดนตรีและความเข้าใจทางดนตรีที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก
1.6 เพื่อกระตุ้นและช่วยเหลือเด็กที่ส่อแววพรสวรรค์ทางดนตรี
ให้มีทักษะเพิ่มขึ้น
1.7 เพื่อจัดประสบการณ์ทางดนตรี
ซึ่งจะส่งเสริมการเรียนรู้ด้านอื่น ๆ เช่นด้าน
ภาษา ทักษะการฟัง การแยกแยะเสียง และความเข้าใจทางสังคม
1.8 เพื่อจัดสิ่งแวดล้อมซึ่งเด็กจะรู้สึกเป็นอิสระที่จะสำรวจและได้รับประสบการณ์
ทางดนตรีที่หลากหลายซึ่งเป็นเพลงประจำชาติ ประจำเผ่าพันธุ์
1.9 เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสแสดงตัวตนผ่านดนตรีในบรรยากาศที่เป็นอิสระ
และ
เป็นที่น่าไว้วางใจ ซึ่งเด็กจะมีโอกาสแสดงความคิดสร้างสรรค์
และความคิดหลากหลาย
2.เนื้อหาสาระที่เรียน
2.1 การ นำกิจกรรมดนตรีมาใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนให้สัมพันธ์กับบทเรียน
สำหรับเด็กปฐมวัยนั้น มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้เด็กเรียนด้วยความสนุกสนานเพลิดเพลิน ไม่เบื่อหน่ายวิชาที่เรียนเพราะเป็นการได้รับความรู้จากบทเรียน
คละเคล้าไปกับการเล่น โดยไม่รู้ตัว และจะช่วยส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ความจำของเด็กได้ดีขึ้น
3.กิจกรรมการเรียนการสอน (รวมวิธีสอนและสื่อการเรียนการสอน)
สำหรับเด็กที่เรียนรู้ทางดนตรีนั้นจะมีการพัฒนาทั้ง 4 ด้าน
1. ด้านร่างกาย การเคลื่อนไหวร่างกายผ่านบทเพลง
2. ด้านอารมณ์ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกผ่านการเคลื่อนไหวตามบทเพลง
3. ด้านสังคม เด็กได้ร่วมกิจกรรมกับเพื่อน
4. ด้านสติปัญญา แสดงความคิดเห็นใช้จิตนาการผ่านบทเพลง
4. การประเมินผล
เด็กเรียนจบชั้นอนุบาลเขาควรมีความสามารถดังนี้
- ใช้เสียงร้องเพลงให้แตกต่างจากเสียงพูด
- ร้องเพลงได้ชัดเจนไม่เพี้ยน
- เขารู้จักจังหวะ เร็ว - ช้า
พลังเสียง ดัง - เบา
การสอนดนตรี
การ สอนดนตรี
การศึกษาพัฒนาการเด็กตามองค์ประกอบสามประการของดนตรี ได้แก่ การเคลื่อนไหว การฟัง
และการร้องเพลง จะช่วยให้ครูจัดประสบการณ์ที่เหมาะสมแก่เด็ก การเคลื่อนไหว(Moving)
เด็ก เริ่มเคลื่อนไหวตั้งแต่เป็นทารก หรือแม้แต่ยังอยู่ในครรภ์มารดา
เดือนแรกๆ เด็กจะเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อศรีษะก่อน หลังจากนั้นจึงจะเคลื่อนไหวไหล่
แขน ลำตัว และขา การพัฒนาการเคลื่อนไหวก็เริ่มจากกล้ามเนื้อใหญ่ไปกล้ามเนื้อเล็ก
การควบคุมการเคลื่อนไหว เริ่มตั้งแต่ส่วนกลางของร่างกาย แล้วขยายออกไป
เด็กยกศรีษะได้ก่อนนั่ง ยืนหรือเดิน
แล้วพัฒนาถึงขั้นหยิบไม้บล็อกด้วยมือทั้งมือก่อนจะสามารถหยิบด้วยนิ้วหัวแม่
มือและนิ้วชี้
สิ่งอำนวยความสะดวก
อาจเรียกอีกอย่างว่า
"สิ่งแวดล้อมการเรียน" เช่น ห้องเรียน สถานที่เรียน ซึ่งประกอบด้วยโต๊ะ เก้าอี้ เครื่องดนตรีที่ใช้เรียน
( Process )
การดำเนินการสอน
โดยการนำเอาแผนการสอนที่ตนเองเตรียมไว้มาใช้สอน หรือนำเอาตัวป้อนเป็นวัตถุดิบในระบบมาดำเนินการเพื่อให้เกิดผลผลิตตามที่ต้องการ
ในการดำเนินการสอนอาจมีกิจกรรมต่างๆ หลายกิจกรรม ได้แก่ การตรวจสอบและเสริมพื้นฐานการสร้างความพร้อมในการเรียน
การใช้เทคนิคการสอนต่าง ๆและอาจใช้กิจกรรมเสริมการตรวจสอบและเสริมพื้นฐาน เป็นกิจกรรมที่ทำให้ผู้สอนรู้จักผู้เรียนและได้ข้อสนเทศที่นำมาใช้ช่วยเหลือผู้เรียนที่ยังขาดพื้นฐานที่จำเป็นก่อนเรียน ให้ได้มีพื้นฐานที่พร้อมที่จะเรียนโดยไม่มีปัญหาใด
ๆ
การสร้างความพร้อมในการเรียน เมื่อเริ่มชั่วโมงเรียน โดยทั่วไปแล้ว จะมีผู้เรียนที่ยังไม่พร้อมที่จะเรียน เช่น พูดคุยกัน คิดถึงเรื่องอื่น ๆ ฯลฯ ถ้าผู้สอนเริ่มบรรยายไปเรื่อยๆ อาจไม่ได้ผลตามที่ต้องการโดยเฉพาะในช่วงต้นชั่วโมงนั้นจึงควรดึงความสนใจของผู้เรียนให้เข้าสู่การเรียนโดยเร็ว ซึ่งทำได้หลายวิธี เช่น ใช้คำถาม
ใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ช่วยเร้าความสนใจ หรือยกเรื่องที่เกี่ยวข้องมาเล่าให้นักเรียนฟัง ในการสร้างความพร้อมไม่ควรใช้เวลามากเกินไป น่าจะใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที
การสร้างความพร้อมในการเรียน เมื่อเริ่มชั่วโมงเรียน โดยทั่วไปแล้ว จะมีผู้เรียนที่ยังไม่พร้อมที่จะเรียน เช่น พูดคุยกัน คิดถึงเรื่องอื่น ๆ ฯลฯ ถ้าผู้สอนเริ่มบรรยายไปเรื่อยๆ อาจไม่ได้ผลตามที่ต้องการโดยเฉพาะในช่วงต้นชั่วโมงนั้นจึงควรดึงความสนใจของผู้เรียนให้เข้าสู่การเรียนโดยเร็ว ซึ่งทำได้หลายวิธี เช่น ใช้คำถาม
ใช้สื่อโสตทัศนูปกรณ์ช่วยเร้าความสนใจ หรือยกเรื่องที่เกี่ยวข้องมาเล่าให้นักเรียนฟัง ในการสร้างความพร้อมไม่ควรใช้เวลามากเกินไป น่าจะใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที
( Output )
แสดงผลการเรียนรู้
-
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนไปในทางที่พึงประสงค์
เป็นการพัฒนาที่ดี
เด็กเรียนจบชั้นอนุบาลเขาควรมีความสามารถดังนี้
- ใช้เสียงร้องเพลงให้แตกต่างจากเสียงพูด
- ร้องเพลงได้ชัดเจนไม่เพี้ยน
- เขารู้จักจังหวะ เร็ว - ช้า
พลังเสียง ดัง - เบา
ผลจากคุณค่าของเสียงดนตรีที่มีต่อการพัฒนาทางด้านจิตใจของเด็ก
นักจิตวิทยาสังคมต่างให้การยอมรับและได้กล่าวถึงคุณค่าของดนตรีไว้ว่า
1.
ดนตรีก่อให้เกิดความสว่างแก่จิตใจ (
Enlightenment)
2. ดนตรีก่อให้เกิดความสุข ( Well - Being)
3. ดนตรีก่อให้เกิดความผูกพันรักใคร่ ( Affection)
2. ดนตรีก่อให้เกิดความสุข ( Well - Being)
3. ดนตรีก่อให้เกิดความผูกพันรักใคร่ ( Affection)
ดนตรีเป็นศาสตร์ หรือวิชาที่ทำให้เด็กระดับปฐมวัยได้รับการพัฒนาทุก
ๆ ด้านของการเจริญเติบโต ไม่ว่าจะเป็นความรู้ ความจำ สังคม ค่านิยม การคิดหาเหตุผล
การสร้างสรรค์ การพัฒนากล้ามเนื้อ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า การพัฒนาตนเองให้เข้ากับกลุ่ม หรือสภาพแวดล้อมของสังคมต่าง
ๆ ดนตรีจึงน่าจะเป็นวิชาเดียวเท่านั้นที่ทำให้เด็กสนุกสนานรื่นเริงอย่างเต็มที่
ทั้งการแสดงออกทางร่างกาย ความคิด ตลอดจนพัฒนาการทางจิตใจ อารมณ์ และนอกจากนี้ ดนตรีนอกจากนี้
ดนตรียังสามารถนำไปสัมพันธ์ เชื่อมโยงหรือบูรณาการ
กับวิชาการ องค์ความรู้ และกิจกรรมต่าง ๆ
แก่เด็กปฐมวัยอย่างสำคัญทีเดียว ประการสำคัญดนตรีเป็นตัวจักรสำคัญที่ใช้ในการเสริมสร้างพัฒนาการด้านต่างๆ
ของเด็กปฐมวัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น